วันพุธที่ 21 ก.ค 2553
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขโครงการ
1.โครงการกิจกรรมตกแต่งถุงผ้าช่วยลดภาวะโลกร้อน
ข้อปรับปรุง มีการแสดงบทบาทสมมุติ แสดงให้เห็นไม่ชัดเจนว่าถุงพลาสติกมีความเกี่ยวข้องอย่างไรและผลกระทบจากถุงขยะไม่ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงผลดีของการเปลี่ยนมาใช้ถุงผ้า เช่น พอถุงมีเยอะย่อยยากแต่มันเกี่ยวยังไงกับภาวะโลกร้อน
เนื้อหาข้อมูล ในการนำเสนอ ตัวเล็ก ข้อเสนอจากอาจารย์ให้เปลี่ยนจากเนื้อหาในหลักการเป็นแหล่งข้อมูล
2.โครงการ กระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก
ข้อปรับปรุง มีการนำภาพมาอธิบายให้เห็นจากผลเสียที่เกิดขึ้นจาดขวดพลาสติกและมีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน
สะท้อนเพื่อน ภาพสื่อเล็กมากเกินไปควรนำภาพขึ้น Power Point แต่การอธิบายออกมาได้เป็นอย่างดี
เข้าใจง่าย
3.โครงการถังขยะอัจฉริยะ
ข้อปรับปรุง แก้ไขแบบฟอร์ม Power Point ใช้การทำกิจกรรมจากเนื้อหาของหลักการ เช่นการตอบคำถาม
การยกตัวอย่างในหลักการ ใหมีกิจกรรมแยกขยะเพื่อนำไปสู่โครงการ
ใส่เนื้ละครที่จะแสดง เพื่อให้เห็นชัดเจน ว่ามันคืออะไร ทำอะไร
นำสื่อวิดิโอจากภัยธรรมชาติ พร้อมละคร การประเมิน ใช้แบบสังเกต
4. โครงการกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนสำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมซ้ำกับขวดพลาสติก ไม่มีประเด็นของโครงการที่ให้เห็นได้ชัดเจน
ควรมีการเชื่อมโยงดึงปัญหาที่เกิดกับเด็กและเกิดเป็นกิจกรรมได้อย่างไร
ควรมีสื่อเพื่อให้เห็นถึงภาวะโลกร้อน ,เทคนิคการเรียงภาพเหตุการณ์ควรมีคำถามเข้ามาใช้
5.โครงการคลายโลกร้อนด้วยมือน้อย
ประเด็นที่มานำเสนอไม่ใช่ประเด็นของผู้ทำโครงการ
วัตถุประสงค์ไม่ควรใส่รูปเด็กเพราะโครงการยังไม่ได้มีการดำเนิน
ตัวหนังสือมองไม่เห็นและมากเกินไป
การบ้าน
ประดิษฐ์เศษขยะตามโครงการ (กลุ่ม)
ทำสื่อวิทยาศาสตร์จากเศษวัสดุ (กลุ่ม)
ตอบคำถาม
1.สาเหตุ
2.วิธีการอย่างไรที่จะลดภาวะโลกร้อน
3.อ้างอิงข้อมูล
วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
วันที่ 14 ก.ค 2553
การนำเสนอโครงการของแต่ละกลุ่ม
การนำเสนอโครงการของแต่ละกลุ่ม
- โครงการกระถางต้นไม้สุดประหยัด จากขวดพลาสติก
- โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน
- โครงการประดิษฐ์ตระกร้าจากกล่องนม
- โครงการกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนของเด็กปฐมวัย
- โครงการถังขยะมหัศจรรย์
นำเสนอโครงการเกี่ยวกับการตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโลกร้อน
ชื่อโครงการ ถังขยะอัจฉริยะ
ในการทำโครงการมีสื่อละครเวทีให้เด็กดูเพื่อให้เห็นถึงภาพของความสำคัญการรักษ์โลก และการดำเนินกิจกรรมมีการประดิษฐ์สัญลักษณ์ของถังขยะอีกด้วย งบประมาณคร่าวๆ 300 บาท
เนื้อหาที่ต้องเพิ่มเติม จากอาจารย์
ต่อยอดโครงการให้เป็นรายสัปดาห์ มีสังเกตพฤติกรรมของแต่ละห้องว่ามีการแยกขยะได้ถูกต้อง
และจัดตั้งโครงการประกวดการประดิษฐ์ของเหลือใช้จากเศษวัสดุ
การบ้าน ให้จัดทำสื่อการเรียน ศิลปะที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
วันพุธที่ 21 ก.ค 53 ย้ายเวลาเรียน 9.00 น.
บันทึกการเรียนครั้งที่ 3
วันที่ 7 ก.ค 2553
ตัวแทนของแต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรม
ตัวแทนของแต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรม
- ถุงผ้าลดโลกร้อน (เด็กอายุ 4 ปี)
- ขยะรีไซเคิล (เด็กอายุ 3ปี)
- เรียงรูปภาพการตัดไม่ทำลายป่า(เด็กอายุ 5ปี)
- ชุดจากถุงขนม ร้องเทาจากขวดน้ำ (เด็กอายุ 4ปี)
- การรณรงค์ให้เก็บขยะ แยกขยะ (เด็กอายุ 5 ปี)
* อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะและให้เขียนกิจกรรมออกมาเป็นโครงการเพื่อการนำเสนอครั้งต่อไป
วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วันที่ 30 มิถุนายน 2553
เด็กปฐมวัย VS การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ?
สรุปการเรียนวันนี้ได้อะไรบ้าง
- ทราบถึงการใช้วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตประจำวัน
ว่ามีความสำคัญมากน้อยแค่ไหน
-การเรียนการสอนเด้กว่าไม่ว่าจะเรียนสอดคล้องเกี่ยวกับอะไรต้องรู้จักการนำเรื่องๆนั้น
มาใช้กับพัฒนาของเด็กในแต่ละช่วงอายุ
-ความต้องการของเด็กในแต่ละด้านเพื่อช่วยในการพัฒนาการให้เกิดการเรียนรู้ที่ก้าวหน้า
-ทราบถึงวิธีการและแนวทางในการสอนให้เด็กได้มีการส่งเสริมทักษะ
และแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม
-ทราบว่าผู้ใหญ่สามารถช่วยต่อยอดกับการเรียนรู้ของเด็ก
และช่วยให้เด็กได้เรียนรู้อย่างสอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย
สรุปกลุ่ม
1.ช่วงอายุ 0-2 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้ประสาทสัมผัส
อายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้คำมากขึ้น
อายุ 4-6 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้คำที่มีประโยคและเริ่มมีคำถาม
2.ความหมายของวิทยาศาสตร์คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้สิ่งแวดล้อม
รอบตัวของจนเอง
3.ผู้ใหญ่มีบทบาทที่สำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
4.สมองจะทำหน้าที่เหมือนผ้าขาว หรือกระดาษมีการซึมซับเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่
และการดำรงชีวิตเพื่อการอยู่รอด
5.มีวิธีการและแนวทางการสอนให้เด็กได้มีการส่งเสริมทักษะ
และแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม
การบ้าน หากิจกรรมที่ให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโลกร้อน เด็กอายุ 5 ปี (กลุ่ม)
เด็กปฐมวัย VS การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ?
สรุปการเรียนวันนี้ได้อะไรบ้าง
- ทราบถึงการใช้วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตประจำวัน
ว่ามีความสำคัญมากน้อยแค่ไหน
-การเรียนการสอนเด้กว่าไม่ว่าจะเรียนสอดคล้องเกี่ยวกับอะไรต้องรู้จักการนำเรื่องๆนั้น
มาใช้กับพัฒนาของเด็กในแต่ละช่วงอายุ
-ความต้องการของเด็กในแต่ละด้านเพื่อช่วยในการพัฒนาการให้เกิดการเรียนรู้ที่ก้าวหน้า
-ทราบถึงวิธีการและแนวทางในการสอนให้เด็กได้มีการส่งเสริมทักษะ
และแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม
-ทราบว่าผู้ใหญ่สามารถช่วยต่อยอดกับการเรียนรู้ของเด็ก
และช่วยให้เด็กได้เรียนรู้อย่างสอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย
สรุปกลุ่ม
1.ช่วงอายุ 0-2 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้ประสาทสัมผัส
อายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้คำมากขึ้น
อายุ 4-6 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้คำที่มีประโยคและเริ่มมีคำถาม
2.ความหมายของวิทยาศาสตร์คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้สิ่งแวดล้อม
รอบตัวของจนเอง
3.ผู้ใหญ่มีบทบาทที่สำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
4.สมองจะทำหน้าที่เหมือนผ้าขาว หรือกระดาษมีการซึมซับเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่
และการดำรงชีวิตเพื่อการอยู่รอด
5.มีวิธีการและแนวทางการสอนให้เด็กได้มีการส่งเสริมทักษะ
และแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม
การบ้าน หากิจกรรมที่ให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโลกร้อน เด็กอายุ 5 ปี (กลุ่ม)
วันอาทิตย์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)