วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกการเรียนครั้งที่ 16

วันที่ 6 ตุลาคม 2553
สอบปลายภาค ของภาคเรียนที่ 1
ในรายวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บรรยากาศการเข้าสอบในตอนเช้า เพื่อนๆดูเคร่งเครียดกับการทำข้อสอบ


วันอาทิตย์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกการเรียนครั้งที่ 15

วันที่ 29 กันยายน 2553
เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
ถามว่า กิจกรรมที่นำไปจัดให้ผู้ปกครองที่ราชบุรี เป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่
เป็นเพราะวิทนาศาสตร์คือิส่งต่างๆรอบตัวทั้งมีชีวิต
และไม่มีชีวิตทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
และมนุษย์สร้างขึ้นมาเอง

สรุปเกี่ยวกับเจตคติของรายวิชา
  • บทบาทของผู้ปกครอง
  • หน้าที่ของครูผู้สอน
  • การจัดบรรยากาศและการปลูกฝังให้เด็กเห็นว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของเด็กทุกคน
  • การส้รางความั่นใจให้กับเด็ก

วันเสาร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2553

บันทึกการเรียนครั้งที่ 14

วันที่ 22 กันยายน 2553

สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน การจัดโต๊ะ เก้าอี้
ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชาม
การจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่น
การทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติ

สรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การเดิความสัมพันธ์ของ 2อย่าง
เข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา

กิจกรรมศิลปะไม่ควรใช้ดินสอเพราะ จะทำให้เด็กไม่มีความเชื่อมั่น
หมายเหตุ
แจกแบบทดสอยให้ทำ ส่งอาทิตย์หน้า

บันทึกการเรียนครั้งที่ 13

วันที่ 15 กันยายน 2553
นำเสนอ Mind Map
แล้วเพิ่มเนื้อหา ให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์

บันทึกการเรียนครั้งที่ 12

วันที่ 8 กันยายน 2553

สรุปการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิต
(ในรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน)

กลุ่มเสียงนำเสนอในรูปแบบของ power point
แบ่งกลุ่ม เลือกหน่วยการเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
ทำ Mind Map แยกส่วนลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญๆ
เพื่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ในการศึกษา

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11

วันที่ 1 และ 3 กันยายน 2553

จัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์แสนสนุก
ที่โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ตั้งแต่เวลา 7.00 น. เตรียมอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมของแต่ละฐาน
ได้แก่ ฐานมหัศจรรย์ของน้ำ ความลับของแสง อากาศ และเสียง




บันทึกการเรียนครั้งที่ 10

วันที่ 25 สิงหาคม 2553

นำเสนองานจากโครงการพร้อมชิ้นงานวิทยาศาสตร์

เรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ อากาศ แสง เสียง


หมายเหตุ
เพื่อเตรียมความพี้อมก่อนลงจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิต
ในวันศุกร์ (เนื่องในวันวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก)

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9

วันที่ 17 - 18 สิงหาคม 2553
จัดกิจกรรมเข้าค่าย ที่ฐานทัพเรือสัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
ร่วทำกิจกรรมของทางฐานทัพ ได้ความรู้ต่างๆมากมาย ได้ประสบการณ์
และรับประทานอาหารอร่อยๆ ที่พักอย่างดี
เข้าร่วมดูงานวันวิทยาศาสตร์ที่ โรงเรียนสัตหีบ

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8

วันที่ 11 สิหาคม 2553

"สอบกลางภาค"

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7

วันที่ 4 สิงหาคม 2553
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีกิจกรรมบายศรี น้องปี1

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

วันที่ 28 กรกฎาคม 2553
มหัศจรรย์ของน้ำ
คนเรามีน้ำในร่างกาย สิ่งมีชีวิตต่างๆบนโลกมีน้ำเป็นส่วนประกอบ
วิธีการทดลอง หาผลไม้มาปั้นแล้วคั่นน้ำออกมา
น้ำจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกประเภท น้ำในร่างกายช่วยปรับสมดุลและอุณหภูมิในร่างกาย
คนเราขาดน้ำได้ไม่เกิน 3วัน
อูฐขาดน้ำได้ 10วัน เพราะอูฐมีน้ำเก็บไว้ใต้ต่อมที่สันหลัง


ฝนตกเกิดจากอะไร จากของแข็งเป็นไอ
การทดลองเกี่ยวกับฝน เริ่มแรกเอาน้ำแข็งมาตั้งไฟ
น้ำแข็งจะกลายเป็นของเหลวแต่ถ้าเราต้มต่อไปก็จะกลายเป็นไอ
แล้วเอาจานใส่น้ำมาวางก็จะมีหยดน้ำเรียกว่า"การควบแน่น"
การเกิดฝนมีลักษณะเหมือนการทดลอง แต่เมื่อฝนตกแล้วมีแอ่งน้ำ
แอ่งน้ำตามถนนหายไปไหนเพราะโดยปกติน้ำระเหย
เมื่อได้รับความร้อนโดยธรรมชาติสะสารที่มีอยู่จะมีโมเลกุลอยู่
เป็นจำนวนมากถ้าเกิดนำน้ำไปแช่แข็งโมเลกุลจะขยายตัวอัดแน่น
ทำให้น้ำแข็งเกิดล้นแก้วขึ้นมา


แบ่งกลุ่ม 4กลุ่ม
1.น้ำ
2.อากาศ
3.แสง
4.เสียง

การทดลอง / 1ชม. ประดิษฐ์ของเล่น 1ชิ้น
ค้นหาคุณสมบัติ นำเสนอ

วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5

วันพุธที่ 21 ก.ค 2553
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขโครงการ
1.โครงการกิจกรรมตกแต่งถุงผ้าช่วยลดภาวะโลกร้อน
ข้อปรับปรุง มีการแสดงบทบาทสมมุติ แสดงให้เห็นไม่ชัดเจนว่าถุงพลาสติกมีความเกี่ยวข้องอย่างไรและผลกระทบจากถุงขยะไม่ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงผลดีของการเปลี่ยนมาใช้ถุงผ้า เช่น พอถุงมีเยอะย่อยยากแต่มันเกี่ยวยังไงกับภาวะโลกร้อน
เนื้อหาข้อมูล ในการนำเสนอ ตัวเล็ก ข้อเสนอจากอาจารย์ให้เปลี่ยนจากเนื้อหาในหลักการเป็นแหล่งข้อมูล
2.โครงการ กระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก
ข้อปรับปรุง มีการนำภาพมาอธิบายให้เห็นจากผลเสียที่เกิดขึ้นจาดขวดพลาสติกและมีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน
สะท้อนเพื่อน ภาพสื่อเล็กมากเกินไปควรนำภาพขึ้น Power Point แต่การอธิบายออกมาได้เป็นอย่างดี
เข้าใจง่าย
3.โครงการถังขยะอัจฉริยะ
ข้อปรับปรุง แก้ไขแบบฟอร์ม Power Point ใช้การทำกิจกรรมจากเนื้อหาของหลักการ เช่นการตอบคำถาม
การยกตัวอย่างในหลักการ ใหมีกิจกรรมแยกขยะเพื่อนำไปสู่โครงการ
ใส่เนื้ละครที่จะแสดง เพื่อให้เห็นชัดเจน ว่ามันคืออะไร ทำอะไร
นำสื่อวิดิโอจากภัยธรรมชาติ พร้อมละคร การประเมิน ใช้แบบสังเกต

4. โครงการกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนสำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมซ้ำกับขวดพลาสติก ไม่มีประเด็นของโครงการที่ให้เห็นได้ชัดเจน
ควรมีการเชื่อมโยงดึงปัญหาที่เกิดกับเด็กและเกิดเป็นกิจกรรมได้อย่างไร
ควรมีสื่อเพื่อให้เห็นถึงภาวะโลกร้อน ,เทคนิคการเรียงภาพเหตุการณ์ควรมีคำถามเข้ามาใช้

5.โครงการคลายโลกร้อนด้วยมือน้อย
ประเด็นที่มานำเสนอไม่ใช่ประเด็นของผู้ทำโครงการ
วัตถุประสงค์ไม่ควรใส่รูปเด็กเพราะโครงการยังไม่ได้มีการดำเนิน
ตัวหนังสือมองไม่เห็นและมากเกินไป
การบ้าน
ประดิษฐ์เศษขยะตามโครงการ (กลุ่ม)
ทำสื่อวิทยาศาสตร์จากเศษวัสดุ (กลุ่ม)
ตอบคำถาม
1.สาเหตุ
2.วิธีการอย่างไรที่จะลดภาวะโลกร้อน
3.อ้างอิงข้อมูล

วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วันที่ 14 ก.ค 2553
การนำเสนอโครงการของแต่ละกลุ่ม
  1. โครงการกระถางต้นไม้สุดประหยัด จากขวดพลาสติก
  2. โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน
  3. โครงการประดิษฐ์ตระกร้าจากกล่องนม
  4. โครงการกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนของเด็กปฐมวัย
  5. โครงการถังขยะมหัศจรรย์

นำเสนอโครงการเกี่ยวกับการตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโลกร้อน
ชื่อโครงการ ถังขยะอัจฉริยะ
ในการทำโครงการมีสื่อละครเวทีให้เด็กดูเพื่อให้เห็นถึงภาพของความสำคัญการรักษ์โลก และการดำเนินกิจกรรมมีการประดิษฐ์สัญลักษณ์ของถังขยะอีกด้วย งบประมาณคร่าวๆ 300 บาท

เนื้อหาที่ต้องเพิ่มเติม จากอาจารย์
ต่อยอดโครงการให้เป็นรายสัปดาห์ มีสังเกตพฤติกรรมของแต่ละห้องว่ามีการแยกขยะได้ถูกต้อง
และจัดตั้งโครงการประกวดการประดิษฐ์ของเหลือใช้จากเศษวัสดุ

การบ้าน ให้จัดทำสื่อการเรียน ศิลปะที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

วันพุธที่ 21 ก.ค 53 ย้ายเวลาเรียน 9.00 น.

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3

วันที่ 7 ก.ค 2553

ตัวแทนของแต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรม

  • ถุงผ้าลดโลกร้อน (เด็กอายุ 4 ปี)
  • ขยะรีไซเคิล (เด็กอายุ 3ปี)
  • เรียงรูปภาพการตัดไม่ทำลายป่า(เด็กอายุ 5ปี)
  • ชุดจากถุงขนม ร้องเทาจากขวดน้ำ (เด็กอายุ 4ปี)
  • การรณรงค์ให้เก็บขยะ แยกขยะ (เด็กอายุ 5 ปี)

* อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะและให้เขียนกิจกรรมออกมาเป็นโครงการเพื่อการนำเสนอครั้งต่อไป

วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

วันที่ 30 มิถุนายน 2553
เด็กปฐมวัย VS การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ?
สรุปการเรียนวันนี้ได้อะไรบ้าง
- ทราบถึงการใช้วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตประจำวัน
ว่ามีความสำคัญมากน้อยแค่ไหน
-การเรียนการสอนเด้กว่าไม่ว่าจะเรียนสอดคล้องเกี่ยวกับอะไรต้องรู้จักการนำเรื่องๆนั้น
มาใช้กับพัฒนาของเด็กในแต่ละช่วงอายุ
-ความต้องการของเด็กในแต่ละด้านเพื่อช่วยในการพัฒนาการให้เกิดการเรียนรู้ที่ก้าวหน้า
-ทราบถึงวิธีการและแนวทางในการสอนให้เด็กได้มีการส่งเสริมทักษะ

และแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม
-ทราบว่าผู้ใหญ่สามารถช่วยต่อยอดกับการเรียนรู้ของเด็ก
และช่วยให้เด็กได้เรียนรู้อย่างสอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย
สรุปกลุ่ม
1.ช่วงอายุ 0-2 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้ประสาทสัมผัส
อายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้คำมากขึ้น
อายุ 4-6 ปี เป็นช่วงที่เด็กใช้คำที่มีประโยคและเริ่มมีคำถาม
2.ความหมายของวิทยาศาสตร์คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้สิ่งแวดล้อม
รอบตัวของจนเอง
3.ผู้ใหญ่มีบทบาทที่สำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
4.สมองจะทำหน้าที่เหมือนผ้าขาว หรือกระดาษมีการซึมซับเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่
และการดำรงชีวิตเพื่อการอยู่รอด
5.มีวิธีการและแนวทางการสอนให้เด็กได้มีการส่งเสริมทักษะ
และแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม

การบ้าน หากิจกรรมที่ให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโลกร้อน เด็กอายุ 5 ปี (กลุ่ม)

วันอาทิตย์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553